สิริพงษ์ วงศ์พรประทีป
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
109 หมู่ 2 ต.ถ้ำใหญ่ อ.ทุ่งสง จ. นครศรีธรรมราช 80110.
Email : siripong.w@rmutsv.ac.th
Academic Ranks : Lecturer
Faculty : Agriculture
Course : Bachelor of Science Program in Fisheries & Aquaculture Technology
E-mail : siripong.w@rmutsv.ac.th
การศึกษา : Education
วิทยาศาสตรบัณฑิต (ประมง) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การประมง) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ) คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ : Exprience
Pigmentation, Carotenoid
Ornamental fish culture
Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards
กิจกรรมระหว่างการศึกษา
ผู้ช่วยผู้ตัดสินการประกวดปลากัด และปลาทอง งานเกษตรแฟร์ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ ร้านประมงซีฟู้ด ปีที่ 13 งานเกษตรแฟร์ สโมสรนิสิตคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รองประธานชมรมศิลปะการถ่ายภาพ องค์การบริหารกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ประสบการณ์การทำงาน : Work Exprience
พ.ศ. 2552-2556 รองหัวหน้าฝ่ายการตลาด และเลขานุการผู้บริหาร บริษัท เทคนิค เพ็ท (ประเทศไทย) จำกัด
พ.ศ. 2556-2557 ฝ่ายขาย บริษัท เฉียนหวู มาร์เก็ตติ้ง (ประเทศไทย) จำกัด
พ.ศ.2557- ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
พ.ศ. 2562 การอบรมหลักสูตร หัวหน้าผู้ตรวจประเมิน/ผู้ตรวจประเมินด้านประมง รุ่นที่ 4 โดย สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
พ.ศ. 2563 หลักสูตรการบริหารจัดการน้ำการเกษตรอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี IoT
พ.ศ. 2563 หลักสูตรการบังคับและควบคุมการบินโดรนเพื่อการเกษตรเชิงพาณิชย์
พ.ศ. 2558 - ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน
พ.ศ. 2564 อาจารย์พิเศษ คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี
พ.ศ. 2564 อาจารย์พิเศษ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2565 อาจารย์พิเศษ ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2566 อาจารย์พิเศษ ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
พ.ศ. 2564-ปัจจุบัน ประธานหลักสูตรเทคโนโลยีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มทร.ศรีวิชัย วข.นครศรีธรรมราช
ทุนวิจัย : Scholarship
พ.ศ. 2557 ทุนพัฒนาศักยภาพนักวิจัยรุ่นใหม่ ในสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มภาคใต้ โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
พ.ศ. 2562 ทุนเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ ตามทิศทางยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม ประเภทบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาเอก โดย คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
เอกสารเผยแพร่ : Publication
นงนุช เลาหะวิสุทธิ์, สิริพงษ์ วงศ์พรประทีป และลำพึง พุ่มจันทร์. (2553). การใช้สารสกัดเบตาเลนจากเปลือกผลแก้วมังกรเพื่อเร่งการพัฒนาสีผิวในปลาหมอนกแก้ว.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 12 ฉบับที่ 4.
สิริพงษ์ วงศ์พรประทีป และอนิรุจน์ เกื้อเพชรแก้ว. การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ 2 ชนิด ในการลดปริมาณสารอินทรีย์จากการเลี้ยงกุ้ง.( 2558) ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมเล่ม 1. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 7 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. นครราชสีมา. 1-3 กันยายน 2558. หน้า 1325-1332.
สิริพงษ์ วงศ์พรประทีป, ธัชพรรณ บุญธรรม, มณี ศรีชะนันท์ และกนกรัตน์ ทองสร้อย. (2560). การใช้สารสกัดจากผลปาล์มเพื่อการเร่งสีของปลาทอง (Carassius auratus). ใน รายงานสืบเนื่องงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 9 . มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. นครปฐม. 28 - 29 กันยายน 2560. หน้า 1998-2006.
สิริพงษ์ วงศ์พรประทีป, ธรรมนูญ ง่านวิสุทธิพันธ์ และ กรกฏ สันทัดการ. (2561). การใช้ไบโอฟลอคอบแห้งในการผลิตอาหารปลานิล (Oreochromis niloticus). วารสารเกษตรพระวรุณ. ปีที่ 14 ฉบับที่ 2. หน้า 231-237.
Siripong Wongphonprateep and Phongchate Pichitkul. (2019). Effect of nanoparticle carotenoids from palm oil seed on pigmentation in goldfish. In The 7th 2019 Burapha University International Conference on Interdisciplinary Research. 27-29 November 2019. Bangsaen Heritage Hotel , Chonburi, Thailand.
Siripong Wongphonprateep and Phongchate Pichitkul. (2021). Creation of nanoparticle carotenoid from crude palm oil to enhancing the skin color of goldfish (Carassius auratus). Burapha Science journal. 26 (3).
สิริพงษ์ วงศ์พรประทีป, สิงหราช ภัยเนียม, อับดุลการีม กะสิรักษ์ และสุรเดช บัวศรี. (2564). ผลของสารสกัดแคโรทีนอยด์จากพริกชี้ฟ้าแห้ง (Capsicum annuum) ต่อการเจริญเติบโตและสีของกุ้งก้ามกราม (Macrobrachium rosenbergii) หลังจากทำสุก. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2564 24-25 ธันวาคม 2564 .สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
อังคณา ใสเกื้อ, อำไพ ล่องลอย, สามารถ เดชสถิตย์, สิริพงษ์ วงศ์พรประทีป, กิตติศักดิ์ โอมณี, พีระพล เกื้อคลัง และอนีส โปรดปราณ.(2564). การใช้แอสต้าแซนทีนและกรด 5-อะมิโนลีวูลินิกจากแบคทีเรียสังเคราะห์แสงเป็นอาหารเสริมต่อสีและการเจริญเติบโตของปลาการ์ตูนส้มขาว (Amphicrine ocellaris)ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2564 24-25 ธันวาคม 2564 .สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
Wongphonprateep, S., & Kasirak, A. . (2023). Effect of Carotenoid Extract from Dried Chili Pepper (Capsicum annuum) on Growth Performance and Pigmentation in Cooked Giant River Prawn (Macrobrachium rosenbergii). Journal of Fisheries and Environment, 47(2), 133–141. Retrieved from https://li01.tci-thaijo.org/index.php/JFE/article/view/259707
รางวัลที่ได้รับ : Award received
พ.ศ. 2560 - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 และ Special awards ด้านนวัตกรรมการเกษตร โดย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ในการประกวดข้อเสนอโครงงานและนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์คิดค้นระดับอุดมศึกษาภาคใต้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จ.สงขลา
พ.ศ. 2560 -รางวัลชนะเลิศ ประเภทนวัตกรรมเกษตร จากงานประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 และงานประชุมวิชาการนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 8 (RMUTCON 2017)
พ.ศ.2561 -รางวัลการนำเสนอเอกสารเชิงแนวคิดในระดับที่มีคุณภาพดีเด่น ในกิจกรรมบ่มเพาะเพื่อพัฒนานวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2561 โดย คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2560 - รางวัลการประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2561 ระดับดีเด่น ผลงานเรื่อง ปาล์ม ปลา และนาโน โดย คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ. 2562 -รางวัลการประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 ระดับดี ในผลงานเรื่อง แคโรทีนอยด์ขนาดนาโนโดยการพ่นฝอยแบบไม่ผ่านความร้อน โดย คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
พ.ศ.2563 -รางวัลการนำเสนอดีเด่น ภาคบรรยาย ใน การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 58 ระหว่างวันที่ 2-5 กุมภาพันธ์ 2563 โดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพ.
พ.ศ. 2567 - อาจารย์ที่ปรึกษา กิจกรรมการเพิ่มศักยภาพและมาตรฐานบุคลากรอุดมศึกษา: บ่มเพาะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม รางวัลติดดาวผลงานการนำเสนอได้อย่างโดดเด่นกลุ่ม 1 ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร เรื่อง การพัฒนาสูตรอาหารเพื่อการผลิตปลาทองสิงห์ดำคุณภาพสูง สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (รางวัลระดับ 4 ดาว)